วันอาทิตย์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2562

การจัดการเรียนรู้ตามขั้นของอริยสัจ4


การจัดการเรียนรู้ตามขั้นของอริยสัจ 4

    เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้  โดยผู้เรีนยพยายามค้นคิดการแก้ปัญหาต่างๆ  โดยใช้ลำดับขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นของอริยสัจ  เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วนตนเอง
การจัดการเรียนรู้ตามขั้นทั้ง 4 ของอริยสัจ มีองค์ประกอบดังนี้
1.             หัวข้อปัญหา
2.             ลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา
3.             สรุปแนวทางการแก้ปัญหา
ซึ่งมีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ดังนี้  โดยศาสตราจารย์  ดร. สาโรช  บัวศรี  (  อ้างถึงในสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ  2540  :  201-202 )  ดังนี้
ขั้นตอนการสอน
เทคนิคสำคัญ
1.             กำหนดปัญหา  (ขั้นทุกข์ )
1.1          ผู้สอนกำหนดและนำเสนอปัญหาอย่างละเอียด  พยายามให้ผู้เรียนทำความเข้าใจต่อปัญหานั้นตรงหัน และพยายามเร้าความรู้สึกให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักว่าสิ่งที่ผู้สอนนำเสนอนั้นเป็นปัญหาของทุกคน  ทุกคนมีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหานั้น  และทุกคนจะต้องร่วมมือกันช่วยแก้ปัญหา  เพื่อความสุขของทุกคน
1.2          ผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนให้ได้ศึกษาพิจารณาดูปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง ด้วยความรอบคอบและพยายามกำหนดขอบเขตของปัญหาซึ่งผู้เรียนจะต้องคิดแก้ให้ได้
2.             ตั้งสมมติฐาน  (  ขั้นสมุทัย )
2.1          ผู้อนช่วยผู้เรียนให้ได้พิจารณาด้วยตนเองว่าสาเหตุของปัญหาที่ยกขึ้นมากล่าวในขั้นที่  1 นั้นมีอะไรบ้าง


1.1          การอธิบายอย่างกระจ่างชัด  สร้างภาพ เหตุการณ์ให้เห็นผลของการละเลยไม่แก้ปัญหาและการโน้มน้าวชักชวนให้เกิดความตระหนักในความสำคัญของการแก้ปัญหา อาจใช้สื่อที่เหมาะสมในการนำเสนอปัญหาให้สมจริง



1.2          เปิดโอกาศให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายและทั่วถึงและเขียนความแสดงความคิดเห็นทั้งหมดนั้นบนกระดานเพื่อป้องกันการลืมและเป็นการเสริมให้ผู้เรียนพยายามมีส่วนร่วมในบทเรียน
2.1             ใช้คำถามเร้าให้ผู้เรียนช่วยกันคิดและแสดงความคิดเห็น  ผู้สอนเขียนข้อมูลสาเหตุของปัญหาตามที่ผู้เรียนเสนอไว้คู่กับประเด็นปัญหาที่ 1.2 ที่เขียนไว้บนกระดาน


ขั้นตอนการสอน
เทคนิคสำคัญ
2.2          ผู้สอนช่วยผู้เรียนให้ได้เกิดความเข้าใจตระหนักว่าในการแก้ปัญหาใดๆนั้นจะต้องกำจัดหรือดับ
2.3          ผู้สอนช่วยผู้เรียนให้ได้คิดว่าในการแก้ปัญหาที่สาเหตุนั้นอาจจะกระทำอะไรได้บ้าง  คือ  ให้กำหนดสิ่งที่จะกระทำนี้เป็นข้อๆ ไป

3.             ทดลองและเก็บข้อมูล  (  ขั้นนิโรธ )




4.             วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ( ขั้นมรรค)
4.1          ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสรุปได้ว่าในบรรดาการทดลองหรือการกระทำด้วยตนเองหลายๆอย่างนั้น บางอย่างก็แก้ปัญหาไม่ได้  บางอย่างก็แก้ปัญหาได้ชัดเจน  การแก้ปัญหาให้สำเร็จจะต้องทำอย่างไรแน่
4.2          เมื่อลงข้อสรุปวิธีแก้ปัญหาได้แล้วให้ผู้เรียนช่วยกันกำหนดแนวทางในการปฏิบัติและลงมือปฏิบัติตามแนวทางนั้นโดยทั่วกัน  รวมทั้งให้ผู้เรียนช่วยกันคิดว่าวิธีการควบคุมและติดตามการปฏิบัติเมื่อแก้ไขปัญหานั้นๆด้วย
2.2             ใช้วิธีการอภิปรายเชื่อมโยงเหตุผล


2.3             ให้ตัวอย่างการกำหนดสิ่งที่จะกระทำแล้วเปิดโอกาสและกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นในการเสริมแรงผู้เรียนที่แสดงความคิดเห็น  เขียนข้อมูลที่ผู้เรียนเสนอไว้บนกระดาน
3                        ให้เทคนิคการแบ่งงาน และการทำงานเป็นกลุ่มและเสนอแนะวิธีการจดบันทึกข้อมูล  ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนช่วยกันเสนอว่าจะจดบันทึกข้อมูลอย่างไร  หรือช่วยกันออกแบบตารางบันทึกข้อมูล

1.1           ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวิเคาระห์และเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้บันทึกไว้แล้วช่วยกันลงข้อสรุปโดยผู้สอนช่วยเชื่อมโยง  ความคิดของผู้เรียนแต่ละคน


1.2           เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นโดยผู้สอนใช้คำถมกระตุ้นให้ข้อมูลย้อนกลับทบทวนเสริมความสำคัญ  สรุปเชื่อมโยงข้อคิดเห็นของผู้เรียนและบันทึกข้อมูลต่างๆบนกระดาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

การวัดและประเมินผลทางการศึกษา

ความหมายของคำว่า การประเมินผล ( Evaluation)  ได้มีผู้ให้ความหมายไว้ ดังนี้             ชวาล แพรัตกุล  (2516 : 140) กล่าวว่า การประเมินผล ...